• หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  • Home
  • Cooking
  • Health
  • Variety
  • Lady
  • Male
kaijeaw
  • หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  1. หน้าแรก
  2. สุขภาพ

แพทย์เฉลยแล้ว!! ป่วยน้ำในหูไม่เท่ากัน สามารถเดินทางโดยเครื่องบินได้หรือไม่? ฟังคำตอบชัดๆ!!

โพสเมื่อ 25/08/2017 16:40 น.
สุขภาพ

advertisement

      ตอนนี้โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน เป็นโรคที่หลายคนต่างให้ความสนใจอย่างมากเนื่องจากข่าวคราวของ น.ส. ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่เบี้ยวศาลในเช้าวันที่ 25 สิงหาคม โดยอ้างว่าป่วยน้ำในหูไม่เท่ากัน วิงเวียนศีรษะ และมีข่าวลือว่าได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศไปซะแล้วซึ่งวันนี้ไข่เจียวเลยมีความรู้เกี่ยวกับโรคดังกล่าวมาฝาก พร้อมไขข้อสงสัยว่าถ้าป่วยเป็นโรคนี้สามารถเดินทางโดยเครื่องบินได้หรือไม่ 

     น้ำในหูไม่เท่ากัน หรือโรคมีเนีย เป็นโรคที่มีความผิดปกติของหูชั้นใน โดยมีน้ำในหูชั้นในมากผิดปกติ หูชั้นในของคนเรามีเซลล์ประสาทที่ทำ หน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัวและการได้ยินอยู่ โดยปกติจะมีน้ำในหูชั้นใน ปริมาณที่พอดีกับการทำงานของเซลล์ประสาทที่ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัว และการได้ยินดังกล่าว และมีการไหลเวียนถ่ายเทเป็นปกติ เมื่อมีการเคลื่อนไหวของน้ำในหู ขณะเคลื่อนไหวศีรษะ จะกระตุ้นเซลล์ประสาทดังกล่าว ให้มีการส่งสัญญาณไปยังสมองเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อใดก็ตามมีความผิดปกติของการไหลเวียนของน้ำในหู เช่น การดูดซึมของน้ำในหูไม่ดี ทำให้น้ำในหูชั้นในมีปริมาณมากขึ้นกว่าปกติ (endolymphatic hydrops)จะส่งผลต่อการทำงานของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทรงตัว และการได้ยิน ทำให้เซลล์ดังกล่าวทำงานผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยโรคนี้มีอาการ

     – ประสาทหูเสื่อม ผู้ป่วยจะมีการเสียการได้ยินแบบประสาทเสียงเสีย(sensorineural hearing loss)ทำให้หูอื้อ ได้ยินไม่ชัด รู้สึกแน่นในหูเป็น ๆ หาย ๆ บางครั้งการได้ยินดีขึ้น บางครั้งการได้ยินเลวลง ในระยะแรกเริ่มมักมีการเสียของประสาทหูที่ความถี่ต่ำก่อน แต่ในระยะยาวแล้วระดับการได้ยินจะแย่ลงเรื่อย ๆ อาจถึงขั้นหูหนวกได้ ในระยะแรกอาจมีอาการที่หูข้างเดียว ในระยะหลังอาจมีอาการที่หูทั้งสองข้าง มีอาการปวดหู หรือปวดศีรษะข้างที่เป็นด้วยได้


advertisement
น้ำในหู-1

     – มีเสียงดังในหู

     – อาการเวียนศีรษะ/บ้านหมุน บางครั้งอาจมี คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออกร่วมด้วย อาการเวียนดังกล่าวมักเป็น ๆ หาย ๆ ส่วนใหญ่มักเวียนศีรษะไม่เกินครึ่งชั่วโมง แต่อาจเวียนเป็นชั่วโมงได้ เมื่อมีอาการเวียนศีรษะ มักมีอาการทางหู เช่น หูอื้อ เสียงดังในหูร่วมด้วย อาการเวียนศีรษะเป็นอาการที่รบกวนผู้ป่วยมากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ ต้องนอนพัก

ปริมาณน้ำในหูมากขึ้นกว่าปกติ​ 

 โรคนี้พบมากในคนอายุ 30-60 ปี พบได้ทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยมากอาการมักจะเริ่มเมื่ออายุ 30 ปี ในประเทศไทยข้อมูลทางระบาดวิทยาของโรคนี้ยังมีน้อย โรคนี้มักเป็นในหูข้างเดียว แต่อาจเป็นทั้งสองหูได้ร้อยละ30 อาการของโรคนี้มักจะเกิดขึ้นทันทีทันใด อาจมีอาการทุกวัน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ ซึ่งไม่สามารถทำนายได้ว่าจะเกิดอีกเมื่อไร แต่ละครั้งที่มีอาการ อาจมีอาการเป็นระยะเวลาสั้น ๆ เป็นนาที หรือมีอาการเป็นระยะเวลานานเป็นชั่วโมงได้ อาจมีอาการน้อยหรือมากได้ นอกจากนั้นผู้ป่วยอาจมีอาการปวดศีรษะ ปวดท้อง หรือท้องเสียร่วมด้วยได้

       การวินิจฉัยโรคนี้ประกอบด้วย การซักประวัติ อาการที่สำคัญ 3 อาการดังกล่าว ซึ่งมักจะเป็น ๆ หาย ๆ และการตรวจระบบประสาทการทรงตัว การตรวจการได้ยิน การตรวจรังสีวินิจฉัย รวมทั้งการเจาะเลือด และตรวจปัสสาวะเพื่อวินิจฉัย แยกจากโรคอื่น ๆ [ads]

การรักษาประกอบด้วย การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเวลาเวียนศีรษะ,การให้ยาบรรเทาอาการ และการผ่าตัด

1)การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเวลาเวียนศีรษะ

    – เมื่อมีอาการเวียนศีรษะขณะเดิน ควรหยุดเดินและนั่งพัก เพราะการฝืนเดินขณะเวียนศีรษะ อาจทำให้ผู้ป่วยล้ม เกิดอุบัติเหตุได้ เช่นกัน ถ้าอาการเวียนศีรษะเกิดขณะขับรถ หรือขณะทำงาน ควรหยุดรถข้างทาง หรือหยุดการทำงาน โดยเฉพาะการทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกล ซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุได้ ถ้าเวียนศีรษะมากควรนอนบนพื้นราบที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น พื้น และผู้ป่วยควรมองไปยังวัตถุที่อยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว

    – รับประทานยาที่แพทย์ให้รับประทานเวลาเวียนศีรษะ

    – พยายามอย่ารับประทานหรือดื่มมากนัก จะได้มีโอกาสอาเจียนน้อยลง

    – หลีกเลี่ยงการเดินทางโดยทางเรือ เพราะจะทำให้มีอาการเวียนศีรษะมากขึ้นได้

    – ถ้าอาการเวียนศีรษะน้อยลง ค่อย ๆ ลุกขึ้น แต่อาจรู้สึกง่วงหรือเพลียได้ แนะนำให้นอนหลับพักผ่อน ถ้าง่วงหลังตื่นนอน อาการมักจะดีขึ้น

2) การให้ยาบรรเทาอาการ และรักษา 

  – ควรจำกัดความเค็ม เพราะความเค็มหรือเกลือโซเดียมที่มีปริมาณมากขึ้นในร่างกาย จะทำให้มีน้ำคั่งในร่างกาย และในหูชั้นในมากขึ้น อาจทำให้อาการผู้ป่วยแย่ลงได้

    – การรับประทานยาขับปัสสาวะ อาจทำให้น้ำคั่งในหูชันในน้อยลง ผู้ป่วยอาจมีอาการดีขึ้นได้

    – ให้ยาบรรเทาอาการเวียนศีรษะ หรือคลื่นไส้ อาเจียน

    – การรับประทานยาขยายหลอดเลือด(ฮิสตะมีน)จะช่วยให้การไหลเวียนของน้ำในหูดีขึ้น

    – ถ้าผู้ป่วยหายเวียนศีรษะแล้ว ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหูชั้นใน

    – หลีกเลี่ยงสารคาเฟอีน(ชา เครื่องดื่มน้ำอัดลม และกาแฟ)เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และความเครียด ซึ่งจะทำให้อาการของผู้ป่วยโรคนี้แย่ลง เนื่องจากจะไปลดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นใน

3) การผ่าตัด 

    เพื่อระบายน้ำที่คั่งอยู่ในหูชั้นใน จะทำเมื่อให้ยารักษาเต็มที่แล้ว อาการของโรคโดยเฉพาะอาการเวียนศีรษะไม่ดีขึ้น และรบกวนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมาก 

     – การทำลายอวัยวะควบคุมการได้ยิน และการทรงตัวในหูชั้นใน (labyrinthectomy)ซึ่งจะช่วยควบคุมอาการเวียนศีรษะได้ดี แต่ผู้ป่วยจะสูญเสียการได้ยินในข้างนั้นด้วย มักจะทำในผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยินในหูข้างนั้นมากแล้ว แต่ยังมีอาการเวียนศีรษะมากอยู่


advertisement
น้ำในหู-2

    – การตัดเส้นประสาท ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัวในหูชั้นใน(vestibular neurectomy)มักจะทำในผู้ป่วยที่มีอาการเวียนศีรษะมาก แต่ยังมีการได้ยินดีอยู่

    – การฉีดยาที่มีพิษต่อระบบประสาทหูและการทรงตัวเข้าไปในหูชั้นกลาง เพื่อให้ดูดซึมเข้าไปในหูชั้นใน เช่น gentamycin ซึ่งเป็นยาต้านจุลชีพกลุ่ม aminoglycoside เพื่อทำลายระบบประสาททรงตัว ทำให้อาการเวียนศีรษะน้อยลง แต่การได้ยินอาจเสียไปด้วย 

  – ควรจำกัดความเค็ม เพราะความเค็มหรือเกลือโซเดียมที่มีปริมาณมากขึ้นในร่างกาย จะทำให้มีน้ำคั่งในร่างกาย และในหูชั้นในมากขึ้น อาจทำให้อาการผู้ป่วยแย่ลงได้

    – การรับประทานยาขับปัสสาวะ อาจทำให้น้ำคั่งในหูชันในน้อยลง ผู้ป่วยอาจมีอาการดีขึ้นได้

    – ให้ยาบรรเทาอาการเวียนศีรษะ หรือคลื่นไส้ อาเจียน

    – การรับประทานยาขยายหลอดเลือด(ฮิสตะมีน)จะช่วยให้การไหลเวียนของน้ำในหูดีขึ้น

    – ถ้าผู้ป่วยหายเวียนศีรษะแล้ว ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหูชั้นใน

    – หลีกเลี่ยงสารคาเฟอีน(ชา เครื่องดื่มน้ำอัดลม และกาแฟ)เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และความเครียด ซึ่งจะทำให้อาการของผู้ป่วยโรคนี้แย่ลง เนื่องจากจะไปลดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นใน

3) การผ่าตัด 

    เพื่อระบายน้ำที่คั่งอยู่ในหูชั้นใน จะทำเมื่อให้ยารักษาเต็มที่แล้ว อาการของโรคโดยเฉพาะอาการเวียนศีรษะไม่ดีขึ้น และรบกวนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมาก 

     – การทำลายอวัยวะควบคุมการได้ยิน และการทรงตัวในหูชั้นใน (labyrinthectomy)ซึ่งจะช่วยควบคุมอาการเวียนศีรษะได้ดี แต่ผู้ป่วยจะสูญเสียการได้ยินในข้างนั้นด้วย มักจะทำในผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยินในหูข้างนั้นมากแล้ว แต่ยังมีอาการเวียนศีรษะมากอยู่ [ads]

    – การตัดเส้นประสาท ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัวในหูชั้นใน(vestibular neurectomy)มักจะทำในผู้ป่วยที่มีอาการเวียนศีรษะมาก แต่ยังมีการได้ยินดีอยู่

    – การฉีดยาที่มีพิษต่อระบบประสาทหูและการทรงตัวเข้าไปในหูชั้นกลาง เพื่อให้ดูดซึมเข้าไปในหูชั้นใน เช่น gentamycin ซึ่งเป็นยาต้านจุลชีพกลุ่ม aminoglycoside เพื่อทำลายระบบประสาททรงตัว ทำให้อาการเวียนศีรษะน้อยลง แต่การได้ยินอาจเสียไปด้วย 


advertisement
เครื่องบิน-1

    ที่สำคัญคือหลีกเลี่ยงการเดินทางโดยเรือ เพราะเรือแล่นบนน้ำซึ่งมีความโคลงเคลง กระตุ้นให้เกิดอาการมากที่สุด ส่วนเครื่องบินสามารถโดยสารได้หากไม่ตกหลุมอากาศก็ไม่มีปัญหาอะไร มีความคงที่มากกว่าการเดินทางโดยเรือและรถยนต์ เพราะสิ่งที่กังวลและน่าเป็นห่วงมากกว่า คือหากอาการกำเริบจะเวียนศีรษะจนล้มศีรษะฟาดพื้น และมีเลือดคลั่งในสมอง!! 

    หากมีความจำเป็นต้องเดินทางโดยยานพาหนะจริงๆ สามารถเดินทางได้ทั้งทางบก ทางอากาศ และทางน้ำ แต่จะแนะนำคนไข้ว่าพกยาติดตัวตลอด ถึงแม้จะเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาดแต่ควบคุมอาการได้ด้วยยา จึงสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีใกล้เคียงกับชีวิตปกติของคนทั่วไปได้ 

    สุดท้ายหมั่นออกกำลังกาย ซึ่งจะมีท่าออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคนี้โดยเฉพาะ เป็นการเพิ่มเลือดไปเลี้ยง “หูชั้นใน” ทำให้อาการดีขึ้น จนบางครั้งไม่ต้องกินยาเลยด้วยซ้ำไป…ถือว่าไขสงสัยให้ผู้ป่วยสบายใจได้บ้างว่า…หมอไม่ได้ห้ามขึ้นเครื่องบิน!!

   สำหรับคนที่เป็นโรคนี้ก็คงต้องเข้ารับการรักษาให้ถูกต้อง เพราะหากปล่อยไว้ก็คงเสี่ยงที่จะหูหนวกได้ แม้จะไม่ได้ร้ายแรงมากแต่ก็ต้องรับการรักษาให้ถูกต้องนะคะ  

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : dailynews.co.th  , si.mahidol.ac.th ​

น้ำในหูไม่เท่ากัน เดินทางโดยเครื่องบิน

เรื่องที่คุณอาจสนใจ :

กินขนมเลิกดูดนิ้วเลย เมื่อลองเอานิ้วส่องกล่องจุลทรรศน์ สิ่งที่เห็นสะพรึง
สุขภาพ
หมอแนะนำ เด็กควรใส่รองเท้าที่เหมาะสม ป้องกันปัญหาสุขภาพ
  การเลือกใส่รองเท้าที่เหมาะสมกับตัวเอง ก็ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างหนึ่ง เพราะเป็นเรื่องที่ส่งผลกับสุขภาพและบุคลิกภาพด้วย ย...
สุขภาพ
นักกีฬาหนุ่ม อัดคลิปกดขาเป็นหลุมเหมือนเล่นแป้งโดว์ รู้เหตุขำไม่ออก
  เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่อยากจะแชร์เพื่อเป็นอุทาหรณ์ และอย่าชะล่าใจเมื่อบัญชีผู้ใช้ Tiktok ที่ใช้ชื่อ @fullheartedpush ได้ออกม...
สุขภาพ
สาวลดน้ำหนักจาก 68 เหลือ 50 เปลี่ยนไปทั้งสวยทั้งเด็ก
การลดน้ำหนักถือว่าเป็นการดูแลตัวเองอย่างหนึ่ง ทั้งเพื่อสุขภาพของตัวเองและยังทำให้เราได้บุคลิกภาพที่ดีขึ้นด้วย โดยล่าสุดบัญช...
การลดน้ำหนัก
คุณหมอเตือน อันตรายที่แฝงในเครื่องปรุง ก่อนปรุงก๋วยเตี๋ยวให้ระวัง
    เวลาที่เราไปทานก๋วยเตี๋ยวหลายๆคนมักจะต้องปรุงรสชาติตามใจในแบบที่เราชอบ ซึ่งแน่นอนว่าเวลาปรุงเครื่องปรุงนั้นจะต้องระวัง...
สุขภาพ
วิธีกินให้ร่างกายเผาผลาญไขมัน หน้าเด็ก ควรเริ่มมื้อแรกตอนกี่โมง
สำหรับการทานอาหารนอกจากการช่วยให้อิ่มท้องและ การเลือกทานอาหารก็ยังช่วยเรื่องสุขภาพอีกด้วย วันนี้เราเลยมีเคล็ดลับการทานอาหาร...
สุขภาพ
สาวอ้วนยอมเปลี่ยนตัวเองเพื่อแฟน ตอนผอมคือสวยน่ารักมากๆ
การลดน้ำหนักเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ทำให้เราดูดีขึ้น และยังเพื่อสุขภาพที่ดีของเราด้วย หลายๆคนเลยเลือกที่จะลดน้ำหนักเพื่อเปลี่ยนบุ...
สุขภาพ
แม่แชร์อุทาหรณ์ พาลูกเล่นทรายที่ทะเล กลับมามีตุ่มขึ้นรู้สาเหตุอันตรายมาก
    สำหรับใครที่เคยได้ยินเรื่องการเดินเท้าเปล่าแล้วผู้ใหญ่บอกว่าระวังพยาธิไชเท้า ได้ยินแล้วอาจจะขำเพราะคิดว่าพยาธิตัวเล็กๆน้...
สุขภาพ
เตือน ก้างปลาติดคอห้ามกลืนก้อนข้าวเหนียวเด็ดขาด แนะสิ่งที่ควรทำ
เพจ อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ ได้ออกมาโพสต์ให้ความรู้เรื่องสิ่งที่ควรทำเมื่อก้างปลาติดคอ โดยหลายคนอาจจะมีคว...
สุขภาพ
มีประโยชน์มาก วิธีช่วยชีวิตคนที่เศษอาหารติดคอ รู้ไว้ปลอดภัยกับชีวิต
  เชื่อว่าอุบัติเหตุสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน แม้กระทั่งเวลาทานอาหาร ที่บางครั้งอาจจะมีเศษอาหารติดคอได้ ซึ่งหากมีเศษอาหารติ...
สุขภาพ
ดูทั้งหมด

ข่าวสารล่าสุด

รั้วบ้านติดกับผนังของเพื่อนบ้าน เจอปัญหาไม่จบ เลยจำเป็นต้องก่อรั้วสูง

โกสินทร์ นั่งขายผัก ยืนยันไม่สร้างภาพหรือตกอับ แค่เห็นคุณค่าของเงิน

ดราม่า เด็ก ม.3 วาดภาพการ์ตูน แต่เจอคนแย้งอาจไม่ใช่ลายเส้นตัวเอง

ความฝันแก๊งคือเปิดร้านเหล้า ก็รวมตัวเพื่อน 23 คนทำฝันให้เป็นจริง

ช่างหัวจะปวด ไปซ่อมเน็ตบ้านลูกค้า แต่รู้สาเหตุใช้เวลาซ่อมไม่ถึงนาที

ข่าวเด่นประจำสัปดาห์

หมวดหมู่

  • Featured
  • การทำอาหาร
  • ท่องเที่ยว
  • ธ สถิตในดวงใจ
  • ผู้ชาย
  • ผู้หญิง
  • วัยรุ่น
  • วาไรตี้
  • สุขภาพ
  • อาหารเพื่อสุขภาพ

แท็กยอดนิยม

  • ครู
  • บ้าน
  • รถ
  • ลูก
  • สร้างบ้าน
  • ห้องน้ำ
  • อาหาร
  • ฮา
  • เงิน
  • แฟน

ติดต่อไข่เจียว

  • ติดต่อเรา
  • แจ้งลบ
Copyright © 2015 kaijeaw.com All rights reserved.