• หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  • Home
  • Cooking
  • Health
  • Variety
  • Lady
  • Male
kaijeaw
  • หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  1. หน้าแรก
  2. โรคและการป้องกัน

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ “กระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก” โรคทางช่องปากที่น่ากลัว อันตรายกว่าที่คิด!!

โพสเมื่อ 21/06/2017 11:54 น.
โรคและการป้องกัน

advertisement

        หลายคนอาจจะยังไม่เห็นได้ยินเกี่ยวกับโรคทางช่องปากโรคนี้ ที่มีอาการมีปุ่ม นูนแข็ง ที่เกิดขึ้นภายในบริเวณช่องปาก​ ที่พบบริเวณกึ่งกลางเพดานหรือสันเหงือกด้านใกล้ลิ้นของขากรรไกรล่าง จะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นตามอายุ ฟังดูเเล้วเริ่มน่ากลัว วันนี้ Kaijeaw.com จะพาไปรู้จักโรคกระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก มีอาการ สาเหตุมาจากอะไร อันตรายมากเเค่ไหน ไปดูกันเลยครับ 


advertisement
กระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก-1

        สิ่งควรรู้กับกระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก

        ท่านเคยสังเกตและเป็นกังวลกับ ปุ่ม นูนแข็ง ที่เกิดขึ้นภายในบริเวณช่องปากหรือไม่ หากมีหรือถูกตรวจพบโดยทันตแพทย์ก่อนการใส่ฟันเทียม ควรจะอ่านบทความนี้เพื่อความสบายใจ[ads]

        ปุ่มกระดูกในช่องปากนี้ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Torus หรือ Tori (ถ้ามีหลายอัน) ส่วน ใหญ่มีลักษณะโค้งนูนเป็นอาจพบเป็นก้อนเดี่ยวๆ หรือหลายก้อนติดกันเป็นพูๆ มักจะพบบริเวณบริเวณกึ่งกลางเพดานหรือสันเหงือกด้านใกล้ลิ้นของขากรรไกรล่าง ซึ่งมักจะพบทั้งด้านซ้ายและขวา บริเวณที่พบบ่อย ได้แก่ บริเวณฟันเขี้ยวถึงฟันกรามน้อย พบได้ในวัยหนุ่มสาวขึ้นไป จากสถิติบอกว่าคนทั่วไปจะมีกระดูกโป่งนูนนี้ประมาณ 10-20% แตกต่างกันแล้วแต่ว่าจะไปศึกษาในคนกลุ่มใด เชื่อว่าปุ่มกระดูกจะโตขึ้นตามอายุ จึงทำให้ไม่ค่อยพบในเด็กต่ำกว่า 10 ขวบ การเกิดปุ่มกระดูกในผู้หญิงหรือผู้ชาย พบได้ไม่ต่างกัน


advertisement
กระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก-4

        ปุ่ม กระดูกนี้ เกิดจากการหนาตัวของผิวกระดูก การเจริญที่ผิดปกติของผิวกระดูกอย่างช้าๆ และค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีอาการเจ็บปวดใดๆ ทำให้ไม่รู้ตัว เมื่อถึงขนาดหนึ่งจะหยุดโต และคงอยู่เช่นนั้น ซึ่งแม้ผ่าตัดออกไปแล้ว ก็จะงอกมาใหม่ได้ ถ้าฟันบริเวณนั้น ยังใช้งานหนักอยู่เช่นเดิม แต่ไม่มีอันตรายร้ายแรง

        ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดกระดูกงอก

        สำหรับ ปุ่มกระดูกด้านข้างขากรรไกรบน และล่างนั้น มักจะสัมพันธ์กับแรงบดเคี้ยว พบว่า ในคนที่ชอบบดเคี้ยวแรงๆ ด้านบดเคี้ยวของฟัน จะสึก เลี่ยน และฟันสั้นลง จะมีปุ่มกระดูกงอกเป็นสันหนา ลักษณะกรรมพันธุ์หรือเผ่าพันธุ์มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดปุ่มกระดูก

        คนที่มีนิสัยนอนกัดฟันเป็นประจำ พบว่าสันเหงือกมักจะมีกระดูกงอกขึ้นมาเป็นสัน โดยเฉพาะบริเวณฟันกรามและจะพบทั้งด้านในใกล้ลิ้นและด้านนอกชิดแก้ม


advertisement
กระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก-2

        เกณฑ์ผ่าตัด

        เนื่องจากเหงือกที่คลุมกระดูกงอกบริเวณนี้ มีลักษณะบาง จึงเป็นแผลง่าย เกิดเป็นแผลเหงือก โดยเฉพาะเมื่อถูกกับอาหารแข็ง กรอบหรือการแปรงฟัน แม้จะไม่เป็นอันตรายร้ายแรง แต่ก่อให้เกิดความรำคาญ เพราะเมื่อเป็นแผลจะเจ็บปวด รับประทานอาหารลำบากอยู่หลายวัน

        ถ้ากระดูกโป่งมีลักษณะเป็นหลายก้อนชิดกัน ก็มักจะมีเศษอาหารเข้าไปติดทำความสะอาดได้ยาก ทำให้ปากไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น

        กรณี ที่ต้องใส่ฟันปลอมและต้องมีส่วนโครงฐานฟันปลอมพาดผ่านบริเวณสันเหงือกที่มี กระดูกโป่งนี้ ก็จำเป็นต้องตัดออก เพราะหากวางฟันปลอมทับเหงือกบริเวณนี้จะเกิดเป็นแผลบ่อย โดยเฉพาะในขากรรไกรล่าง เกิดปัญหาใส่ฟันปลอมไม่ได้

        ขนาดของปุ่มกระดูกใหญ่มากจน ไม่มีที่อยู่ของลิ้น วางลิ้นในตำแหน่งปกติไม่ได้ จนออกเสียงไม่ได้เป็นปกติ

        อัตราการขยายตัวของปุ่มกระดูก เป็นไปอย่างรวดเร็ว จนอาจไม่ใช่กระดูกปกติ ควรตัดออกและส่งตรวจในคราวเดียวกัน


advertisement
กระดูกงอก (TORI) ในช่องปาก-3

        ขั้นตอนการผ่าตัดโดยสังเขป

        – การตัดแต่งปุ่มกระดูก เริ่มต้นด้วยการฉีดยาชาเฉพาะที่ เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เจ็บขณะที่ทันแตพทย์ทำการผ่าตัด 

        – เมื่อผู้ป่วยรู้สึกชาแล้ว ทันตแพทย์จะตัดและเปิดเหงือกที่คลุมออกให้เห็นปุ่มกระดูกอย่างชัดเจน

        – ใช้เครื่องมือตัด หรือกรอเอากระดูกส่วนที่โป่งนูนนั้นออก

        – ล้างให้สะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล (Normal Saline) แล้ว

        – ทันตแพทย์จะเย็บแผลปิดด้วยไหมเย็บ[ads]

        หากเป็นแผลที่มีบริเวณกว้างอาจมีการใส่เครื่องมือที่เรียกว่า Stent หรือ Obtulator ปิดแผลไว้เพื่อช่วยในการห้ามเลือดและป้องกันเวลาเคี้ยวอาหาร ซึ่งผู้ป่วยต้องกลับมารับการตัดไหมหลัง จากผ่าตัดแล้วประมาณ 7 วัน

        ขอบอกว่าจะใช้เวลามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับขนาด และตำแหน่งที่พบ หากกระดูกงอกมีขนาดใหญ่หรือมีลักษณะเป็นก้อนๆ ติดชิดกัน อยู่ในตำแหน่งที่ยากต่อการใส่เครื่องมือเข้าไปถึง จะทำให้การผ่าตัดทำได้ยากและใช้เวลานาน และหากท่านมีโรคประจำตัวที่มีผลต่อการผ่าตัด เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจฯลฯ การรับประทานยาละลายลิ่มเลือด ประวัติแพ้ยาควรแจ้งทันตแพทย์ทราบด้วย อ้อ! โรคที่ทำให้เกิดอาการไอจามเป็นอุปสรรคต่อการอ้าปาก เช่นไข้หวัด ภูมิแพ้ขั้นรุนแรง ก็ต้องบอกให้เจ้าหน้าที่ทราบด้วย

         รู้เเบบนี้เเล้ว!! ต้องสำรวจตัวเองเเล้วว่ามีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้หรือไม่ จะได้รีบรักษาเเละเเละดูเเลตัวเองไม่ให้เกิดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคนี้ เป็นโรคหนึ่งที่น่ากลัวสุดๆ 

เรียบเรียงโดย : Kaijeaw.com ขอขอบคุณข้อมูลจาก Thaiendodontics, กองทันตแพทย์ กรมแพทย์ทหารบก

กระดูกงอก โรคทางช่องปาก

เรื่องที่คุณอาจสนใจ :

เจ้าหน้าที่จับกุม ยาฟ้าทะลายโจรปลอม ของกลางกว่า 4 แสนบาท 
ข่าวทั่วไป
วิธีแบ่งยาง่ายๆ ที่เป็นความลับจากเภสัชกร
  สำหรับหลายๆครั้งที่เราได้ทานยาชนิดเม็ด แล้วต้องแบ่งทานตามหมอสั่ง ซึ่งบางครั้งต้องทานทีละครึ่งเม็ด บางคนก็ไม่รู้ว่าจะต้องแ...
ยารักษาโรค
จะเป็นยังไงเมื่อร่างกาย ‘ขาดธาตุเหล็ก’ อันตรายใกล้ตัวที่ควรรู้
ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยที่พบบ่อยที่สุดคือโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เหล็กที่เราพูดถึงกันนี้ไม่ใช่เหล็กเ...
โรคและการป้องกัน
ล้างพิษออกจากร่างกายง่ายๆ ด้วยผักผลไม้
คอเลสเตอรอลสูงเป็นสาเหตุของโรคร้ายต่างๆ โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต!! โดยคนไทยมีแ...
สุขภาพ
บรรเทาอาการ “กรดไหลย้อน” หากใครเป็นอยู่อยากให้อ่านมากๆ !!
โรคกรดไหลย้อน หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะ...
สุขภาพ
สีปัสสาวะ บอกโรคได้ ปัสสาวะของคุณปกติหรือไม่?
ปัสสาวะ เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจ...
สุขภาพ
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ เตือนกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับอ่อน
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ เผยโรคมะเร็งตับอ่อนยังไม่สามารถตรวจคัดกรองได้ในระยะเริ่มแรก แนะป้องกันตนเอง โดยงดสูบบ...
โรคและการป้องกัน
แพทย์เตือนปวดท้องใต้ชายโครงขวาเสี่ยงเป็นถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ เตือนปวดท้องใต้ชายโครงขวาอาจเสี่ยงต่อการเป็นถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน หากปล่อยทิ้งไว้นาน ถุ...
โรคและการป้องกัน
แพทย์ผิวหนังชี้ โรคเพมฟิกัส ‘ไม่ใช่โรคติดต่อ’
โรคเพมฟิกัสยังไม่ทราบสาเหตุของโรคที่ชัดเจน แต่ไม่ใช่โรคติดต่อสามารถสัมผัสและอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยได้ตามปกติ แต่ต้องใช้ระย...
โรคและการป้องกัน
เลือก”อุดฟัน”แบบไหนดีที่สุด? เรื่องที่คนฟันผุต้องอ่าน!!
การอุดฟันคืออะไร การอุดฟันคือวิธีการรักษาฟันที่ถูกทำลายจากการผุให้สามารถใช้งานได้และกลับมารูปทรงเดิม เวลาทำการอุดฟัน ท...
การดูแลสุขภาพ
ดูทั้งหมด

ข่าวสารล่าสุด

ผู้ชายบอกจะเอารถคันละล้านมารับ พอมาถึง คันละล้านของเราไม่เท่ากัน

สุภาพบุรุษตัวน้อย นั่งเช็ดน้ำตาให้สาว แต่ครูแอบมาเฉลยสาเหตุสุดพีค

เจ้าบ่าวประสบอุบัตเหตุก่อนงานแต่ง แต่เตรียมงานไว้หมด สิ่งที่ทำเห็นถึงความตั้งใจจริง

เกินไปไหม คาเฟ่เจอรถบัสพาคนมาจอดเข้าห้องน้ำ 40 กว่าคน แบบไม่อุดหนุน

กรี๊ดกันทั้งฮอลล์ แสงสุดท้าย เวอร์ชันพิเศษที่ประทับใจ ดูจบแล้วอิ่มเอมใจ

ข่าวเด่นประจำสัปดาห์

หมวดหมู่

  • Featured
  • การทำอาหาร
  • ท่องเที่ยว
  • ธ สถิตในดวงใจ
  • ผู้ชาย
  • ผู้หญิง
  • วัยรุ่น
  • วาไรตี้
  • สุขภาพ
  • อาหารเพื่อสุขภาพ

แท็กยอดนิยม

  • ครู
  • บ้าน
  • รถ
  • ลูก
  • สร้างบ้าน
  • ห้องน้ำ
  • อาหาร
  • ฮา
  • เงิน
  • แฟน

ติดต่อไข่เจียว

  • ติดต่อเรา
  • แจ้งลบ
Copyright © 2015 kaijeaw.com All rights reserved.