• หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  • Home
  • Cooking
  • Health
  • Variety
  • Lady
  • Male
kaijeaw
  • หน้าแรก
  • อาหารเพื่อสุขภาพ
    • สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • สูตรเครื่องดื่ม
      • เครื่องดื่มสมุนไพร
        • เครื่องดื่มอื่นๆ
        • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  • การทำอาหาร
    • เมนูอาหาร
      • อาหารคนท้อง
      • อาหารคนป่วย
      • อาหารจานเดียว
      • อาหารต่างชาติ
      • อาหารลดน้ำหนัก
      • อาหารว่าง
      • อาหารเจ
      • อาหารเช้า
      • อาหารเด็ก
      • อาหารไทย
      • อาหารไมโครเวฟ
      • เมนูไข่
  • สุขภาพ
    • โรคและการป้องกัน
      • ยารักษาโรค
    • การดูแลสุขภาพ
      • สุขภาพผู้ชาย
      • สุขภาพผู้หญิง
      • สุขภาพวัยรุ่น
    • การดูแลสุขภาพผิว
    • การลดน้ำหนัก
    • รอบรู้เรื่องยา
    • สุขภาพกาย
      • ออกกำลังกาย
    • สุขภาพจิต
  • ท่องเที่ยว
    • ร้านอาหารแนะนำ
    • ที่พักประทับใจ
    • เที่ยวทั่วไทย
      • เที่ยวน้ำตก
      • เที่ยวภูเขา
    • เทศกาลประเพณี
    • ข้อมูลการท่องเที่ยว
  • วาไรตี้
    • คุยเรื่องบ้าน
    • สาระน่ารู้
    • คุยเรื่องเกษตร
    • ความเชื่อ
    • สัตว์น่ารักทั่วทุกมุมโลก
    • ข่าวสาร
      • ข่าวกีฬา
      • ข่าวบันเทิง
        • อันดับดารา
      • ข่าวมาแรง
      • ข่าวสารสุขภาพ
      • ข่าวทั่วไป
  • ผู้หญิง
    • ความสวยความงาม
    • ทรงผม
    • ศัลยกรรม
    • แฟชั่น
    • เซ็กซ์
    • แต่งหน้า
    • แต่งงาน
    • แฟชั่น
    • แม่และเด็ก
  • ผู้ชาย
    • ความหล่อ ดูดี
    • ทรงผม
    • Hot Girl
    • ความรัก
    • ฟุตบอล
    • รถยนต์
    • แฟชั่น
    • วัยรุ่น
      • การศึกษา
      • กิจกรรมวัยรุ่น
      • เทคโนโลยี
  1. หน้าแรก
  2. โรคและการป้องกัน

ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง..ดูแลตัวเองอย่างไร?

โพสเมื่อ 02/09/2016 09:16 น.
สุขภาพ

advertisement


     อาหารที่เรารับประทานเข้าไปทุกวันนั้น ส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย อาหารที่ดี ทานอย่างพอเหมาะ ก็จะเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่หากเลือกรับประทานอาหารที่ส่งผลเสียมากกว่าส่งผลดี และทานอย่างไม่พอดีก็แน่นอนว่าจะเกิดโทษต่อสุขภาพ บ่อยครั้งที่เราจะได้ยินเรื่องของปริมาณไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อันเป็นสาเหตุของความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ เช่นเดียวกับการมีโคเลสเตอรอลในเลือดสูง สาเหตุหลักๆ มักเกิดมาจากร่างกายได้รับปริมาณไขมันสะสมมากจนเกินไป หลายคนมารู้ตัวอีกทีก็ต่อเมื่อเข้ารับการตรวจจากแพทย์แล้ว ดังนั้นสำหรับใครที่มีความเสี่ยงต่อภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ควรต้องดูแลตัวเอง ให้มากขึ้นกันแล้วนะค่ะ


      ไตรกลีเซอไรด์ คือ อนุภาคไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นในตับ มีขนาดเบาบางและเล็กมาก ไขมันชนิดนี้ยังเพิ่มพูนในร่างกายของเราได้จากอาหารที่เรากินเข้าไป อาหารประเภทไขมันโดยส่วนใหญ่จะมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือไขมันที่ซ่อนอยู่ในเนื้อ นม หรืออาหารอื่นๆ ร่างกายจะดูดซึม ขนส่งไตรกลีเซอไรด์ผ่านเลือดส่งไปยังเซลล์ต่างๆ ที่ต้องการพลังงาน หากไตรกลีเซอไรด์ที่มากเกินไปจะถูกส่งไปเก็บไว้ที่เนื้อเยื่อไขมัน (body fat) แล้วพอกพูนตามส่วนต่างๆ ของร่างกายจนร่างกายอ้วนขึ้น 
     โดยปกติแล้วร่างกายขจัดไตรกลีเซอไรด์ออกจากเลือดได้อย่างรวดเร็ว เพียงแค่สองสามชั่วโมงหลังจากการกินอาหาร ไขมันไตรกลีเซอไรด์ส่วนใหญ่ก็ถูกขจัดออกจากเลือดเข้าสู่เซลล์ได้แล้ว คนทั่วไปจึงมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดไม่สูง คือประมาณ 50-150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แต่ถ้าตรวจเลือดหลังอดอาหารมาแล้ว 8-12 ชั่วโมง พบว่าไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป นั่นแสดงได้ว่าร่างกายมีปัญหาในการขจัดไตรกลีเซอไรด์

 


advertisement
ไตรกลีเซอไรด์ -2


อันตรายของไตรกลีเซอไรด์ที่สูงเกินปกติ 

โดยค่าปกติของไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเท่ากับ 50 – 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร 
    – ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ เนื่องจากการสะสมของไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดที่มากผิดปกติ เช่นเดียวกับการมีโคเลสเตอรอลในเลือดสูง นั่นเป็นเพราะไตรกลีเซอไรด์ปริมาณสูงทำให้เลือดข้นเหนียวขึ้น เกิดการจับตัวกันเป็นลิ่มและอุดตันหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะที่หัวใจและสมอง 
    – ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด มีการศึกษาพบว่า คนที่มีไตรกลีเซอไรด์สูงเป็นเวลานานจะทำให้ระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอล (HDL) ซึ่งเป็นโคเลสเตอรอลที่ดีในเลือดลดต่ำลงด้วย ดังนั้นไตรกลีเซอไรด์ในเลือดที่สูงร่วมกับเอชดีแอลต่ำ จึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ 
    – อาจจะทำให้เกิดโรคตับอ่อนอักเสบได้ 
    – ความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมในผู้หญิงสูงขึ้นด้วย เพราะระดับไตรกลีเซอไรด์ที่สูง จะไปกระตุ้นให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ไหลเวียนอยู่สูงขึ้นด้วย ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเป็นมะเร็งเต้านมนั่นเอง

[ads]

 


advertisement
ไตรกลีเซอไรด์ -3


สาเหตุที่ทำให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง 
1. อาหาร ร่างกายสร้างไตรกลีเซอไรด์จากพลังงานส่วนเกิน ที่รับประทานอาหารเข้าไปมากกว่าความจำเป็นที่ต้องการใช้ และออกกำลังกายน้อยเกินไป และยังสังเคราะห์ได้จากอาหารประเภทแป้ง และน้ำตาล เช่น
    – อาหารหวาน ขนมหวาน น้ำอัดลม
    – เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เหล้า เบียร์ ไวน์
    – อาหารต่างๆ ที่มีไขมันอิ่มตัวสูง โคเลสเตอรอลสูง
2. กรรมพันธุ์ เช่น ร่างกายขาดเอนไซม์ที่ย่อยไตรกลีเซอไรด์ จึงขจัดไตรกลีเซอไรด์ได้ช้าผิดปกติ คนกลุ่มนี้มักมีค่าไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงมากอาจสูงได้ถึง 800-1,000 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร 
3. โรคหรือการใช้ยาบางชนิด เช่น เบาหวาน ไตวายเรื้อรัง ยาคุมกำเนิด ไขมันจากปลาทะเล (Fish oil) สามารถลดไตรกลีเซอไรด์และเพิ่ม HDL ทำให้เกล็ดเลือดจับตัวน้อยยลง

ข้อควรปฎิบัติเพื่อป้องกันและดูแลตัวเองเมื่อมีภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
1. หลีกเลี่ยงอาหาร ที่ให้พลังงานสูงเช่น
    – น้ำตาลทุกชนิด น้ำผึ้ง ขนมหวาน เช่น สังขยา ขนมชั้น ฝอยทอง ขนมเค็ก คุกกี้
    – น้ำหวาน น้ำอัดลม เครื่องดื่มที่มีน้ำตาล เช่น ชา กาแฟ เหล้า เบียร์ ไวน์ 
    – ผลไม้รสหวานจัด เช่น องุ่น ลำไย ขนุน ทุเรียน อ้อย มะม่วงสุก ละมุด น้อยหน่า ลิ้นจี่ รวมทั้งผลไม้แช่อิ่ม หรือ เชื่อมน้ำตาล และผลไม้กวน
2. จำกัดอาหารที่ให้พลังงาน 
    – ข้าว แป้ง เผือก มัน ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ ขนมจีน ขนมปัง บะหมี่ ก๋วยเตี๋ยว
    – อาหารไขมันอิ่มตัวสูง โคเลสเตอรอลสูง เช่น ขาหมู ข้าวมันไก่ หมู่ 3 ชั้น ของทอดน้ำมันมากๆ กะทิ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม เนย
    – ผักที่มีหัว หรือมีแป้งมาก เช่น หัวหอม หัวผักกาด ถั่วงอกหัวโต หัวปลี ฝักทอง แครอท ผลไม้บางอย่าง เช่น เงาะ สับประรด มะละกอ กล้วย

[ads]

3. เลือกรับประทานผักให้มากโดยเฉพาะผักใบเขียว ผักทุกชนิด (ยกเว้นผักที่มีแป้งมาก) รวมทั้งผลไม้ เน้นทานชนิดที่ไม่หวาน เช่น ฝรั่ง แอปเปิ้ล ชมพู่
4. ทานอาหารโปรตีนประเภทเนื้อสัตว์ เช่น ปลา ไก่-เป็ด (ลอกหนัง) หมู-เนื้อ (ไม่ติดมัน) อาหารโปรตีนจากพืช เช่น ถั่ว เต้าหู้
5. กินปลาทะเลที่มีไขมันโอเมกา 3 สูง ปรุงด้วยวิธีการนึ่ง 2-3 มื้อต่อสัปดาห์ จะช่วยลดไตรกลีเซอไรด์ ในเลือดได้ค่อนข้างดี โดยต้องลดการกินไขมันโดยรวม (โดยเฉพาะไขมันสัตว์) 
6. ทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ ไม่ควรงดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง โดยเฉพาะมื้อเช้าควรกินมื้อเช้าให้อิ่ม เพราะพลังงานที่ได้จากมื้อเช้าจะถูกนำไปใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ ตลอดวัน การกินอาหารมื้อเช้าให้พลังงานประมาณ 1 ใน 4 ของพลังงานที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน ซึ่งเท่ากับปริมาณพลังงานที่ควรได้รับในมื้อเย็น ที่เหลือประมาณครึ่งหนึ่งควรได้จากมื้อกลางวันและอาหารว่างมื้อเล็กๆ การรับประทานอาหารแบบนี้ จะทำให้ไม่มีพลังงานเหลือนำไปสร้างเป็นไตรกลีเซอไรด์ได้ 
7. งดสูบบุหรี่และแอลกอฮอล์ อันมีผลไปกระตุ้นตับให้ผลิตไตรกลีเซอไรด์มากขึ้น และยังทำให้การเคลื่อนย้ายไขมันออกจากเลือดได้ช้ากว่าปกติด้วย 
8. ควบคุมน้ำหนักตัว ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง พบได้บ่อยในคนอ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอ้วนแบบลงพุงกะทิ ควรพยายามลดน้ำหนักตัวลงให้ได้ร้อยละ 5-10 จากน้ำหนักเดิม 
9. ระวังยา การกินยาบางชนิดอาจทำให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงขึ้นได้ เช่น ยาขับปัสสาวะ ไธอาไซด์ ฮอร์โมนเพศหญิง ยาคุมกำเนิดบางชนิด หากต้องกินยาเหล่านี้ควรปรึกษาแพทย์ และมีการตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์อย่างสม่ำเสมอ 
10. ออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายเป็นประจำ อย่างน้อยวันละ 20 – 30 นาที อาทิตย์ละ 3 ครั้ง โดยไม่หักโหม จะช่วยเผาผลาญแคลอรีได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     ไขมันร้ายอย่างไตรกลีเซอไรด์ มีอันตรายมากกว่าที่จะทำให้อ้วน หุ่นไม่สวยเท่านั้นนะคะ แต่ยังเป็นสาเหตุของโรคร้ายมากมาย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว เพราะฉะนั้นทางที่ดีที่สุด คือการป้องกันตนเอง หรือถ้าหากว่าใครที่มีระดับไตรกลีเซอไรด์สูง ก็ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิต และดูแลสุขภาพตัวเองให้มากขึ้นกันแล้วนะคะ จะได้สุขภาพดีห่างไกลโรคค่ะ

เรียบเรียงเนื้อหาโดย : kaijeaw.com

ไตรกลีเซอไรด์ ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง

เรื่องที่คุณอาจสนใจ :

เมื่อเอาสิวไปตรวจเชื้อ สิ่งที่เห็นมันสยองมาก ใครเป็นสิวอักเสบบ่อยๆอย่าชะล่าใจ
สุขภาพ
หนุ่มเปลี่ยนตัวเองเพื่อภรรยา ผลลัพธ์ที่ได้คุ้มค่ามากที่ยอมเปลี่ยน
ต้องบอกเลยว่าเป็นอีกหนึ่งคลิปที่อยากจะขอแชร์เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้กับหลายๆคน ที่อยากลดน้ำหนักและเปลี่ยนตัวเอง โดยบัญชีผู้ใ...
สุขภาพ
นี่มันตัวตึง เด็กนักเรียนเบ่งกล้ามโชว์ ยกแขนทีบอกเลยไม่ธรรมดา
การออกกำลังกายถือว่าเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันเพิ่มความแข็งแรง และยังเป็นอีกหนึ่งวิธีการดูแลตัวเองอีกหนึ่งอย่างด้วยเช่นกัน โดยล...
สุขภาพ
คุณหมอพูดเอง กินชาบูยังไงไม่ให้พุงป่องพร้อมเปิดพุงโชว์ ฟังจบสบายใจขึ้นเยอะ
  เชื่อเลยว่าหลายคนคงหนักใจเรื่องการคุมน้ำหนัก เพราะหลังจากที่กินอิ่มมาใหม่ๆมักจะมีพุง ทำให้รู้สึกไม่มั่นใจ โดยล่าสุดบัญชีผ...
สุขภาพ
ต้องรู้ 4 ผักที่ไม่ควรกินดิบ ส่งผลต่อสุขภาพ อันตรายถึงชีวิต
ผักถือว่าเป็น อาหารที่สำคัญและจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ฉะนั้นเราควรเลือกทานผักที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยล่าสุดบัญชีผู้ใช้ T...
สุขภาพ
หมอแชร์ทริคง่ายๆ วิธีล้างจมูกแบบคนที่กลัวการล้างจมูกต้องลอง
ช่วงนี้อากาศบ้านเรามีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งฝุ่นและมลภาวะทำให้หลายๆ คนไม่สบายหรือเป็นหวัดได้ง่ายๆ โดยล่าสุดบัญชีผู้ใช้ Tikto...
สุขภาพ
หมอสะท้อนคำพูด กินไปเถอะ ยังไงก็ตายอยู่ดี จริงๆมันมีอะไรมากกว่านั้น
 กลายเป็นอีกหนึ่งมีมที่ถูกแชร์ออกไปอย่างมากมาย สำหรับคำพูดของสาวรายหนึ่งที่ให้สัมภาษณ์ว่า “กินไปเถอะค่ะ ยังไงก็ตายอยู่ดี” โด...
สุขภาพ
แค่เอาลิ้นดุนเพดานปากก็ทำให้ดูดีได้ เวลาถ่ายรูปเหนียงหาย กรอบหน้าชัด
     สำหรับคนที่อยากจะปรับบุคลิกของตัวเองให้ดูดีขึ้น เวลาถ่ายรูปแล้วหน้าอ้วน หรือมองเห็นเหนียงวันนี้เรามีวิธีมาฝาก เมื่อบัญช...
สุขภาพ
สาวอายุ 22 ดีใจ กินของหวานทุกวันไม่อ้วนแถมน้ำหนักลด แต่ตอนนี้เสียใจมาก
     สำหรับคนที่ชอบกินของหวานหรือน้ำหวานเป็นประจำอยู่บ่อยๆ ก็คงจะต้องระวังและควบคุมน้ำหนัก และต้องระวังเรื่องสุขภาพด้วย เมื...
สุขภาพ
ครูสาวรีวิวตัวเอง จากคนอ้วนตัวดำใช้เวลา 6 เดือน เปลี่ยนไปเยอะมาก
 เป็นอีกหนึ่งคลิปที่อยากจะขอแชร์เพื่อเป็นกำลังใจให้กับคนที่คิดอยากจะลดน้ำหนัก หรือเปลี่ยนแปลงตัวเอง โดยบัญชีผู้ใช้ Tiktok ที...
สุขภาพ
ดูทั้งหมด

ข่าวสารล่าสุด

ซอยเข้าบ้านลูกค้าสุดแคบ ไม่เซียนจริงไม่กล้าเข้า

แชร์เคล็ดลับ ซื้อทุเรียนออนไลน์ ดูวิธีไหนว่าสุกพอที่จะปอกได้

เบื้องหลังการทำครัวซ็อง ไม่ง้ออุปกรณ์เน้นทำมือล้วนๆ

เมื่อเพื่อนบวชใหม่ ให้พรยังไม่คล่อง เพื่อนถึงกับกลั้นขำแทบไม่ไหว

พลทหารสายลับ เมื่อทหารอยากหนีกลับบ้าน ก่อนความจริงถูกเปิดเผย

ข่าวเด่นประจำสัปดาห์

หมวดหมู่

  • Featured
  • การทำอาหาร
  • ท่องเที่ยว
  • ธ สถิตในดวงใจ
  • ผู้ชาย
  • ผู้หญิง
  • วัยรุ่น
  • วาไรตี้
  • สุขภาพ
  • อาหารเพื่อสุขภาพ

แท็กยอดนิยม

  • ครู
  • บ้าน
  • รถ
  • ลูก
  • สร้างบ้าน
  • ห้องน้ำ
  • อาหาร
  • ฮา
  • เงิน
  • แฟน

ติดต่อไข่เจียว

  • ติดต่อเรา
  • แจ้งลบ
Copyright © 2015 kaijeaw.com All rights reserved.