หนุ่มสงสัย ผลไม้สุดแปลกกลางป่า ที่ไหนได้มันคือของดีหาทานยาก

advertisement
ต้องบอกเลยว่าเป็นอีกหนึ่งของดีที่หาทานยากมากๆ เมื่อคุณ นายนิวัฒน์ พันธ์กสิกร ได้ออกมาโพสต์ภาพผลไม้รูปร่างหน้าตาแปลกๆ พร้อมสอบถามว่า 'ในภาพคือผลไม้อะไร ใครทราบช่วยบอกหน่อยครับ' ซึ่งจากโพสต์ดังกล่าวก็มีชาวเน็ตหลายท่านเข้ามาแสดงความคิดเห็นพร้อมบอกว่า ที่เห็นในภาพนนั้นก็คือ เกาลัดไทย
advertisement

ลูกเกาลัดไทยที่ยังไม่แก่จัด
advertisement

เปลือกเป็นสีเขียวออกแดง
advertisement

พอแก่จัดก็จะเป็นแบบนี้ [ads]
advertisement

เมล็ดข้างใน
advertisement

จากความคิดเห็น
advertisement

ต้มแล้วแกะเนื้อข้างในกิน
advertisement

“เกาลัดไทย”เป็นพืชถิ่นเดิมของจีนตอนใต้ บริเวณกวางตุ้ง กวางสี ยูนนาน ไต้หวัน แล้วแพร่กระจายไปยังอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ญี่ปุ่น รวมทั้งไทย ผลเป็นผลแห้งแล้ว เปลือกเหนียวเหมือนหนังมีสีส้มหรือสีแดงหุ้มเมล็ดสีดำไว้ข้างใน เมื่อแก่จัดผลจะแตกด้านหนึ่งทำให้เห็นความสวยงามของเมล็ดสีดำตัดกับสีแดงของเปลือกผล เนื้อในเมล็ดสีเหลือง ต้มสุกแล้วเนื้อในเมล็ดจะเป็นสีเหลืองสด เมื่อนำเมล็ดไปต้มหรือคั่วให้สุกก็รับประทานได้ เนื้อไม้นำไปทำเฟอร์นิเจอร์ได้ เนื้อไม้มีเรซินมาก นำไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้
ขอขอบคุณที่มาจาก : นายนิวัฒน์ พันธ์กสิกร